Miles Glacier Bridge

ขออภัย ยังไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ Miles Glacier Bridge

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

English version Miles Glacier Bridge


Miles Glacier Bridge

จำนวนตอม่อ 3[2]
ประเภท Pennsylvania (Petit) truss bridge
ข้าม แม่น้ำคอพเพอร์[1]
วันสร้างเสร็จ ค.ศ. 1911[1]

|-!สะพานล้านเหรียญ|-| ทะเบียนสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติ
แห่งสหรัฐอเมริกา|-|-|-|-|-|-|-|-|-|

|-|ที่ตั้ง:|Valdez-Cordova Census Area, Alaska|-|-|พิกัดภูมิศาสตร์:|60°40′24″N 144°44′36″W / 60.67333°N 144.74333°W / 60.67333; -144.74333พิกัดภูมิศาสตร์: 60°40′24″N 144°44′36″W / 60.67333°N 144.74333°W / 60.67333; -144.74333|-|-|-|-|สร้าง/ก่อตั้ง:|1910|-|สถาปนิก:|Katalla Corp.; et al.|-|-|-|ผู้บริหาร:|รัฐ|-|-|ลงทะเบียนNRHP:|31 มีนาคม ค.ศ. 2000|-|-|-|-|-|-|-|-|-|-|-|-|-|-|NRHP #:|00000293[3]|-|-|-|-สะพานไมล์เกลเชียร์ หรือ สะพานล้านเหรียญ (อังกฤษ: Miles Glacier Bridge หรือ Million Dollar Bridge) เป็นสะพานที่สร้างขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ตั้งอยู่ห้าสิบไมล์จากคอร์โดวา, อะแลสกา เป็นสะพานหลายช่วงแบบ "Pennsylvania-truss" สะพานไมล์เกลเชียร์เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟแม่น้ำคอพเพอร์และตะวันตกเฉียงเหนือที่ยาว 196 ไมล์ ที่สร้างขึ้นโดยเจพี มอร์แกน และ ตระกูลกุกเกนไฮม์เพื่อใช้ในการขนทองแดงจากเมืองเหมืองเก่าเคนนิคอทไปยังคอร์โดวา สะพานนี้ได้ชื่อว่า "สะพานล้านเหรียญ" เพราะค่าก่อสร้าง 1.4 ล้านเหรียญสหรัฐเป็นราคาที่เกินกว่าคุ้มเป็นอันมาก เพราะการใช้ในการขนทองแดงดิบจำนวนที่มีค่าราว 200 ล้านเหรียญสหรัฐได้

อ้างอิง
  1. 1 2 3 4 5 Million Dollar Bridge ที่ฐานข้อมูลโครงสร้าง (Structurae)
  2. 1 2 3 4 "Copper River & Northwest Railroad, Million Dollar Bridge". Washington, DC: Historic American Buildings Survey/Historic American Engineering Record, National Park Service, Department of the Interior. 1986-07-23. p. 2. สืบค้นเมื่อ 2009-06-13.
  3. "National Register Information System". National Register of Historic Places. National Park Service. 2007-01-23.
ดูเพิ่มแหล่งข้อมูลอื่น
บทความเกี่ยวกับอาคาร หรือ สถานที่สำคัญนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล
วันเริ่มสร้าง ค.ศ. 1909[1]
ความยาว 1,550 ฟุต (470 เมตร)[2]
เส้นทาง สะพานรถ[1]
ที่ตั้ง คอร์โดวา, อะแลสกา[1]
จำนวนช่วง 4[2]
วัสดุ เหล็กหล่อ และ คอนครีต[2]

ใกล้เคียง